รายงานการวิจัย โครงการวิจัยสำรวจข้อมูลพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ในเครือข่ายภาคใต้

dc.contributor.author สารูป ฤทธิชู
dc.contributor.author เบ็ญจวรรณ บัวขวัญ
dc.contributor.author ไพฑูรย์ ศิริรักษ์
dc.contributor.author ดวงกมล เดชน้อย
dc.contributor.author วิจิตรา อมรวิริยะชัย
dc.contributor.author บัณฑิต ทองนวล
dc.contributor.author อานนท์ นวลมุสิต
dc.contributor.author มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง. วิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน
dc.date.accessioned 2016-07-15T10:06:05Z
dc.date.accessioned 2016-07-17T05:45:30Z
dc.date.accessioned 2016-07-20T07:49:34Z
dc.date.accessioned 2016-07-22T04:50:21Z
dc.date.available 2016-07-15T10:06:05Z
dc.date.available 2016-07-17T05:45:30Z
dc.date.available 2016-07-20T07:49:34Z
dc.date.available 2016-07-22T04:50:21Z
dc.date.issued 2006
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่อง "การสำรวจข้อมูลพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ในเครือข่ายภาคใต้" นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสถานภาพและศักยภาพและความพร้อมในการพัฒนารูปแบบการบริหารและจัดการศึกษาของพิพิธภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งแม่ข่ายพิพิธภัณฑ์และพิพิธภัณฑ์เครือข่ายในภูมิภาค (ลูกข่ายจำนวน 10 แห่ง) รวม 11 แห่ง โดยวิธีการวิจัยแบบสำรวจผสมผสานการวิจัยเอกสาร ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 3 เดือน ผลการศึกษาพบว่า พิพิธภัณฑ์ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นพิพิธภัณฑ์ในเครือข่ายมีความเหมือนในความต่าง มีความต่างในความเหมือน และสะท้อนความเป็นภาคใต้ตามนัยสำคัญของพิพิธภัณฑ์ จำแนกตามสาระความรู้ที่มุ่งเน้นได้สี่ประเภท คือ พิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับมนุษย์ พิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์บก พิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์ทะเล และพิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับมนุษย์แลสิ่งแวดล้อม แต่ละประเภทมีความพร้อมในการเป็นพิพิธภัณฑ์ในเครือข่ายและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าในบริบทที่แตกต่างกันอย่างหลากหลาย แต่ละแห่งต่างเสนอแนะแนวทางการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ในเครือข่ายตามบริบทของตนเอง เมื่อนำมาผนวกกับข้อเสนอแนะอื่นและสถานการณ์ของสังคมไทยและสังคมโลกปัจจุบันที่เป็นโลกยุคสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ จึงขอเสนอแนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารและจัดการศึกษาของพิพิธภัณฑ์ในเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพด้วยชุดโครงการวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมตามแนวทางของตนเอง ภายใต้บริบทของตนเอง แต่มีจุดมุ่งหมายหลักร่วมกันคือ การทำให้ความรู้แพร่หลายในหมู่ประชาชนและการสร้างสรรค์ความรู้ เพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้และเส้นทางสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ มีสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติสนับนสนุนทุนวิจัย en_US
dc.description.abstract The research under the title, The Survey of the Learning Museum in Southern Network, aims to survey, collect and analyse a greater depth of the data about the status and potentiality of the museums. It also aims to study the readiness in developing administrative formation and the efficient education management of the museums. The research has covered eleven museums one main museum and other ten in the region. The study has been done by means of survey together with documentary research. This will take three months. It has been found that the museums chosen as network share the similarities in the differences.they are also different though similar. And they also reflect the being southern in accordance with the recognition of the museums. The findings has been classified into four categories -- the museums about human beings, museums about plants and land animals, museum about plants and water animals and museums about human beings and environment. Each category are ready for being network museums and valuable learning sources in various contexts. The individual museum has presented the developing approach to fit its context. This combined with other approaches and situations of Thai society as well as current world society which is economic and knowledge-based. The approaches for developing administrative formation and efficient education management of the network museum s then have been presented through the series of participatory research and development based on their own approaches and under individual contexts. However, they share the same objectives. Those are how to publicize knowledge to people and to create knowledge in order to build up learning culture and routes to learning societies. The national learning museum institute support funds for research.
dc.description.sponsorship สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) en_US
dc.description.tableofcontents กิตติกรรมประกาศ -- บทคัดย่อ -- abstract -- สารบัญ -- บทที 1 บทนำ -- บทที่ 2 บริบทของพิพิธภัณฑ์เครือข่ายการเรียนรู้ในภาคใต้ -- บทที่ 3 ความพร้อมเป็นเครือข่ายและแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่า -- บทที่4 ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ในเครือข่าย -- บทที่ 5 บทสรุป -- บรรณานุกรม
dc.format.extent 314 หน้า
dc.identifier.uri https://repository.museumsiam.org/handle/6622252777/254
dc.publisher สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ en_US
dc.subject เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ en_US
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย (ภาคใต้) -- การจัดการ
dc.subject.other การจัดการพิพิธภัณฑ์
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์เฉพาะทาง
dc.subject.other แหล่งเรียนรู้
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- ตรัง
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- ชุมพร
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- พัทลุง
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- นครศรีธรรมราช
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- สตูล
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- สงขลา
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- ภูเก็ต
dc.title รายงานการวิจัย โครงการวิจัยสำรวจข้อมูลพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ในเครือข่ายภาคใต้ en_US
dc.type Text en_US
mods.genre งานวิจัย
Files
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:
Collections