รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การดำเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล และสังเคราะห์องค์ความรู้จากพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่เป็นกรณีศึกษา พิพิธภัณฑ์วัดไหล่หินหลวง ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง

dc.contributor.author ทนงศักดิ์ แก้วมูล
dc.date.accessioned 2016-07-15T09:00:24Z
dc.date.accessioned 2016-07-17T05:45:29Z
dc.date.accessioned 2016-07-20T07:49:35Z
dc.date.accessioned 2016-07-22T04:50:20Z
dc.date.available 2016-07-15T09:00:24Z
dc.date.available 2016-07-17T05:45:29Z
dc.date.available 2016-07-20T07:49:35Z
dc.date.available 2016-07-22T04:50:20Z
dc.date.issued 2006-11
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษาและเก็บข้อมูลองค์ความรู้จากพิพิธภัณ์วัดไหล่หินหลวง พัฒนาระบบทะเบียนวัตถุให้ได้มาตรฐานสากล ส่งเสริมนักวิจัยท้องถิ่นให้สามารถจัดการองค์ความรู้ท้องถิ่นได้เอง พัฒนาให้พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นให้เป็นแหล่งอนุรักษ์เพื่อการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์และยั่งยืนของท้องถิ่นเองและผู้ที่สนใจภายนอกและเพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น ในพิพิธภัณฑ์วัดไหล่หินหลวงสู่สังคมกว้างต่อไป วิธีการศึกษาผู้วิจัยใช้วิธีการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านไหล่หิน วัดไหล่หิน ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง โดยศึกษาและสังเคราะห์ข้อมูลในต้าน่าง ๆ แยกเป็นส่วน ๆ ดังนี้ 1. ศึกษาและสังเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลด้านกายภาพของชุมชน ประกอบด้วยแผนที่ การติดต่อของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน 2. ศึกษาและสังเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลด้านวิธีชีวิตของผู้คนในไหล่หินทั้งในอดีตและปัจจุบัน ประกอบด้วย รูปแบบการดำเนินชีวิต อาหารการกิน ความเป็นอยู่ ภาษาถิ่น การประกอบอาชีพในอดีตและปัจจุบัน 3. ศึกษาและสังเคราะห์เก็บรวมรวมข้อมูลด้านข้อมูลพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจากเอกสาร คำบอกเล่า บันทึกหลักฐาน ตำนานต่าง ๆ ที่มีอยู่ 4. ศึกษาและสังเคราะห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของไหล่หิน ภูมิปัญญา ด้านศาสนา ความเชื่อ พิธีกรรม ประเพณีวัฒนธรรม ตลอดจนถึงประวัติครูภูมิปัญญาผู้รู้ในท้องถิ่น 4. ศึกษาและสังเคราะห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้านพิพิธภัณฑ์ของชุนชนในด้านความเป็นมาและแรงบันดาลใจในการเกิดพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ข้อมูลวัตถุโบราณชิ้นสำคัญ รูปแบบการจัดแสดงตลอดถึงกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนไหล่หิน ผู้วิจัยเห็นว่าท้องถิ่นไหล่หิน ประกอบด้วยหมู่บ้าน วัด และโรงเรียน(บวร)เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ในท้องถิ่นในการตระหนักถึงชุดความรู้ที่มีอยู่ของท้องถิ่น เป็นพื้นฐานของการพัฒนาองค์วามรู้ที่มีอยู่ในเป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้า สืบทอดจากรุ่นปัจจุบันสู่รุ่นอนาคตได้เป็นอย่างดี ชุมชนมีความพร้อมในการขับเคลื่อนองค์ความรู้ที่มีอยู่ สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นนิทรรศการ การจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ การจัดการด้านเอกสาร งานทะเบียนกับวัตถุโบราณที่มีอยู่อย่างมีระบบ จนก่อให้เกิดพิพิธภัณฑ์อันเป็นศูนย์รวมข้อมูลในด้านต่าง ๆ รวมถึงการจัดการองค์ควมรู้ที่มีอยู่ในคงอยู่ตามแบบแผนวัฒนธรรมดั้งเดิมที่เคยปฏิบัติ en_US
dc.description.abstract The purposes of this research are to promote the study and data collecting of the knowledge body of Wat Laihin Luang Museum. To develop the ancient object registration system to meet the international standard system. To encourage the local researchers to organize the local knowledge body by themselves. To develop the local museum to be the conservative resource for lifelong and sustainable learning int eh local community and outside. And to spread the knowledge body of the local museum of Wat Laihin Luang into outside society. This study utilized the local participation of Laihin community at Laihin Village, Laihin Sub-district, Ko kha District, Lampang Province, by studying and data synthesis in some ways as follows: 1. Stud, synthesis and data collecting about physical community aspects in the past and the present 2. Study, synthesis and data collecting about the way of life of Laihin community which consists of the life-style, residence, dialect and working life in the past and present. 3. Study, synthesis and data collecting about the local history from documents, folklores, chronicle and local legends. 4. Study, synthesis and data collecting of the unique local culture, local wisdom, religion, customs, traditions including biographies of the local wise-men 5. Study, synthesis and information collecting about the community museum which is original and emotional participation to build this local museum. The data of master pieces displayed in the style through the learning process of Laihin community. The researcher's opinion about the Laihin community consisting of Village, Temple and School (VTS) is the very important mechanism to run the developing process of local museum. And to realize in developing the local knowledge to be learning and researching resource to inherit from the present generations to the future generations. The community is ready for transferring the body of knowledge into the exhibition, deomnstration in the museum, the document arrangement, ancient objects registration and building to be the central local museum and the management of knowledge body remain with their own traditional culture.
dc.description.sponsorship สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) en_US
dc.description.tableofcontents บทสรุปย่อสำหรับผู้บริหาร--บทคัดย่อภาษาไทย--บทคัดย่อภาษาอังกฤษ--กิตติกรรมประกาศ--สารบัญ--สารบัญภาพ--บทที่ 1--บทที่ 2--บทที่ 3
dc.format.extent 237 หน้า
dc.identifier.uri https://repository.museumsiam.org/handle/6622252777/252
dc.publisher สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) en_US
dc.subject พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น en_US
dc.subject ชุมชนบ้านไหล่หิน en_US
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์ -- ไทย -- ลำปาง -- การจัดการ
dc.subject.other การจัดการความรู้ร่วมชุมชน -- ไทย -- ลำปาง
dc.subject.other การบริหารองค์ความรู้ -- ไทย -- ลำปาง
dc.subject.other การจัดการพิพิธภัณฑ์
dc.subject.other พิพิธภัณฑ์เฉพาะทาง
dc.subject.other แหล่งเรียนรู้
dc.subject.other บ้านไหล่หิน (ลำปาง) -- ความเป็นอยู่และประเพณี
dc.title รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การดำเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล และสังเคราะห์องค์ความรู้จากพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่เป็นกรณีศึกษา พิพิธภัณฑ์วัดไหล่หินหลวง ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง en_US
dc.type Text en_US
mods.genre งานวิจัย
Files
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:
Collections