Repository logo
  • English
  • ไทย
  • Log In
    Have you forgotten your password?
Repository logo
  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • Quick Guide
    How to Search & Browse
  • English
  • ไทย
  • Log In
    Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Subject

Browsing by Subject "พิพิธภัณฑ์ -- ไทย (ภาคใต้) -- การจัดการ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z

  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ล
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ
Now showing 1 - 3 of 3
Results Per Page
Sort Options
  • Item
    โครงการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ศึกษากรณีสามจังหวัดชายแดนใต้
    (สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ, ) ศิริวรรณ วิบูลย์มา ; นราวดี โลหะจินดา ; นิปาตีเมาะ หะยีหามะ ; ประสิทธิ์ รัตนมณี ; อรอุษา ปุณยบุรณะ ; มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา
  • Item
    โครงการสร้างฐานข้อมูลเครือข่ายพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ : ภาคใต้
    (สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.), 2007-10) ชนน์ชนก พลสิงห์
  • Item
    รายงานการวิจัย โครงการวิจัยสำรวจข้อมูลพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ในเครือข่ายภาคใต้
    (สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ, 2006) สารูป ฤทธิชู ; เบ็ญจวรรณ บัวขวัญ ; ไพฑูรย์ ศิริรักษ์ ; ดวงกมล เดชน้อย ; วิจิตรา อมรวิริยะชัย ; บัณฑิต ทองนวล ; อานนท์ นวลมุสิต ; มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง. วิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน
    งานวิจัยเรื่อง "การสำรวจข้อมูลพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ในเครือข่ายภาคใต้" นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสถานภาพและศักยภาพและความพร้อมในการพัฒนารูปแบบการบริหารและจัดการศึกษาของพิพิธภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งแม่ข่ายพิพิธภัณฑ์และพิพิธภัณฑ์เครือข่ายในภูมิภาค (ลูกข่ายจำนวน 10 แห่ง) รวม 11 แห่ง โดยวิธีการวิจัยแบบสำรวจผสมผสานการวิจัยเอกสาร ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 3 เดือน ผลการศึกษาพบว่า พิพิธภัณฑ์ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นพิพิธภัณฑ์ในเครือข่ายมีความเหมือนในความต่าง มีความต่างในความเหมือน และสะท้อนความเป็นภาคใต้ตามนัยสำคัญของพิพิธภัณฑ์ จำแนกตามสาระความรู้ที่มุ่งเน้นได้สี่ประเภท คือ พิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับมนุษย์ พิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์บก พิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์ทะเล และพิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับมนุษย์แลสิ่งแวดล้อม แต่ละประเภทมีความพร้อมในการเป็นพิพิธภัณฑ์ในเครือข่ายและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าในบริบทที่แตกต่างกันอย่างหลากหลาย แต่ละแห่งต่างเสนอแนะแนวทางการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ในเครือข่ายตามบริบทของตนเอง เมื่อนำมาผนวกกับข้อเสนอแนะอื่นและสถานการณ์ของสังคมไทยและสังคมโลกปัจจุบันที่เป็นโลกยุคสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ จึงขอเสนอแนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารและจัดการศึกษาของพิพิธภัณฑ์ในเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพด้วยชุดโครงการวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมตามแนวทางของตนเอง ภายใต้บริบทของตนเอง แต่มีจุดมุ่งหมายหลักร่วมกันคือ การทำให้ความรู้แพร่หลายในหมู่ประชาชนและการสร้างสรรค์ความรู้ เพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้และเส้นทางสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ มีสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติสนับนสนุนทุนวิจัย

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement