Browsing by Subject "ประวัติศาสตร์ไทย"
Now showing
1 - 6 of 6
Results Per Page
Sort Options
-
Item100 ปี ตึกเรา : หนึ่งศตวรรษประวัติศาสตร์ตึกมิวเซียมสยาม(สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (มิวเซียมสยาม), 2022) ศรัณย์ ทองปาน ; ราเมศ พรหมเย็น ; ฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร ; วรกานต์ วงษ์สุวรรณ ; ศราวัณ วินทุพราหมณกุล ; วรมันต์ โสภณปฏิมา, ออกแบบปกและรูปเล่ม ; ชิษณุพงศ์ มงคลเอก, ออกแบบปก
-
Itemแนะนำหนังสือ:ติดเกาะกับตึกเก่า[NA2543 .T68 l181 2564](สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (มิวเซียมสยาม), 2023-11-28) พาฉัตร ทิพทัสThe Old Town part of Bangkok is a small area measuring only about 1,000 acres, protected by the City Wall and embraced by a moat. It has been the center of the Kingdom since Bangkok was established as the capital city. It has been two centuries, and the Old Town, like everything else, cannot escape from change. Formerly a port town in the Ayutthaya era, it became the Kingdom’s capital, and later a part of a busy metropolitan. Let’s take a look at what the Old Town has been through by looking at the buildings in it. The architectural style of each era not only demonstrates technology evolution but also speaks volumes about the society and way of life at the time, both of which have continued to evolve over the past two centuries. Architecture in the traditional Thai era: In the beginning, old traditions were maintained, and palaces and temples were the most significant. Architecture in the Colonization era: In the second century, Siam interacted with Western countries, and we adapted and evolved into a more civilized version of Siam. The elite were into all things Western. New businesses emerged, and we saw schools, theaters, hospitals, military barracks, government mints, post offices, prisons, and cemeteries - these were all in Western-style buildings. The people of Siam lived in Western-style bungalows, and Western-style shophouses popped up along our roads. Architecture in the Modern era: Things were simplified as we entered the post-industrial revolution era which brought major political changes. Architecture in the Cold War era: The US came into power and became a role model. The city center began to lose its significance, and later became just the Old Town as gentrification emerged in other neighborhoods. Architecture in the contemporary era now: Bangkok is the dream destination for travelers around the world, and people start to yearn for the past and come back to the Old Town. Old buildings are restored and repurposed. The Old Town area becomes a magnet once again. Architectures in the Old Town Bangkok are where the East and the West mix, and the old and the new mingle. They show us that Bangkok is not deterred by changes, and will continue to evolve over time.
-
Itemสูจิบัตร นิทรรศการ ตึกเก่าเล่าใหม่(สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (มิวเซียมสยาม), 2022) สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาตินิทรรศการ ตึกเก่าเล่าใหม่ เป็นหนึ่งกิจกรรมภายในโครงการ 100 ปี ตึกเรา เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนมาร่วมร้อยเรื่องราว เล่าเรื่องตึก รื้อฟื้นความทรงจำ รำลึกการเปลี่ยนผ่าน ก่อนจะเป็นตึกมิวเซียมสยามในทุกวันนี้
-
Itemสูจิบัตร นิทรรศการ ล่องรอยราชดำเนิน : นิทรรศการผสานวัย(สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ, 2020) สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติล่องรอยราชดำเนิน : นิทรรศการผสานวัย เป็นนิทรรศการที่เกิดขึ้นจากแนวคิดในการเสนอประเด็นประวัติศาสตร์ผ่านการมีส่วนร่วมของสังคมด้วยกระบวนการพิพิธภัณฑ์ แนวคิดสำคัญ ประการแรก คือ การระลึกถึงถนนสายที่เก่าแก่ที่สุดสายหนึ่งในประเทศไทย 121 ปีของถนนสายนี้เชื่อมโยงกับชีวิตของผู้คนทุดระดับชั้น จนกลายเป็นประวัติศาสตร์สังคมอันพึงจารึกจดจำ และแนวคิดที่สอง คือ ปรากฏการณ์การเข้าสู่สังคมสูงวัยของประชากรไทย มิวเซียมสยามได้ตอบสนองปรากฎการณ์ดังกล่าวด้วยการจัดอบรมปฏิบัติการให้กลุ่มผู้สูงวัย ภายใต้ชื่อกลุ่ง "ภัณฑารักษ์วัยเก๋า" ขึ้นในปี พ.ศ. 2562 และได้ทำงานร่วมกับคนวัยเก๋าทั้ง 16 ท่านในงานนิทรรศการนี้ ล่องรอยราชดำเนิน : นิทรรศการผสานวัย จึงเป็นการปะทะประสานมุมมองของคนต่างวัย ต่างประสบการณ์ ที่ล้วนล่องอยู่ในรอยแห่งราชดำเนิน
-
Itemห้องสมุดมนุษย์ ปีที่ 3 ตอน 2475 กับวันเวลาที่หมุนไป(สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. มิวเซียมสยาม, 2024) ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ; สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติหนังสือมนุษย์ ปีที่ 3 ในธีม “สิ่งสำคัญในเดือน ๆ หนึ่ง” ตอน “2475 กับวันเวลาที่หมุนไป” โดย ผศ. ดร. ศรัญญู เทพสงเคราะห์ อาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำเสนอข้อมูลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ในประเทศสยาม เดือนที่มีวันแห่งการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ที่เป็นการเปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองโดยประชาชน เป็นวันเริ่มต้นการปกครองที่ประชาชนเข้ามามีปฏิสัมพันธ์กับการเมืองครั้งแรก การศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองทำให้ผู้คนสามารถเชื่อมโยงประเด็นหลายๆ ประเด็น ทั้งประเด็นของเศรษฐกิจ สังคม และบริบทของความร่วมสมัย
-
Itemห้องสมุดมนุษย์ ปีที่ 3 ตอน ท่องบรรณโลก คณะราษฎรและเสรีไทย(สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. มิวเซียมสยาม, 2024) นริศ จรัสจรรยาวงศ์ ; สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติหนังสือมนุษย์ ปีที่ 3 ในธีม “สิ่งสำคัญในเดือน ๆ หนึ่ง” ตอน “ท่องบรรณโลก คณะราษฎรและเสรีไทย" โดย คุณนริศ จรัสจรรยาวงศ์ นำเสนอประวัติศาสตร์การเมืองช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง