Monastery, Monument, Museum

File type
application/pdf
Date
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
Publisher
University of Hawai' i Press
Citation
Rights
Licensed rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Other title(s)
Sites and Artifacts of Thai Cultural Memory
Editor(s)
Other contributor(s)
Abstract
เป็นหนังสือที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมืองไทยทั้ง วัด อนุสาวรีย์ พิพิธภัณฑ์ กล่าวได้ว่าเป็นผลงานที่น่าสนใจ ที่เป็นทั้งต้นฉบับในการศึกษาศิลปะและวัฒนธรรมของประเทศไทย Maurizio Peleggi ได้กล่าวถึงงานศิลปะที่แตกต่างกันทั้งในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องใช้และยานพาหนะที่เปรียบเสมือนความทรงจำทางวัฒนธรรมของแต่ละยุคสมัย นอกจากนี้ยังกล่าวถึงตั้งแต่วัดในจังหวัดเชียงใหม่จนถึงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกรุงเทพฯไปจนถึงวัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและอนุสาวรีย์ในช่วง ค.ศ.1930 จนถึงงานศิลปะทางการเมืองในปลายศตวรรษที่ยี่สิบ โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 "Sacred Geographies" มุ่งเน้นไปที่ยุคสมัยจารีต ตั้งแต่ความเชื่อทางด้านศาสนา การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ รวมถึงการที่ตัวแทนทางพุทธศาสนาได้ถูกสร้างขึ้น ส่วนที่ 2 “Antiquities, Museums, and National History,” กล่าวถึงโบราณวัตถุ พิพิธภํณฑ์ และประวัติศาสตร์แห่งชาติ ครอบคลุมช่วง ค.ศ. 1830 จนถึง ค.ศ.1970 ส่วนที่สาม “Discordant Mnemoscapes” เกี่ยวข้องกับอนุสาวรีย์และงานศิลปะของเมืองไทยที่มาจากความทรงจำเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางการเมืองในศตวรรษที่ 20
Table of contents
Part 1 : Sacred Geographies 1| Buddhist Landscape and Cultural Memory 2| Itinerant Icons of the Theravada Ecumene 3| The Place of Other in Temple Art Part 2 : Antiquities, Museum, And National History 1| Kings and AntiQuarians 2| A Museum and an Art History for the Thai Nation 3| Whose Prehistory? Thailand before the Thais Part 3 : Discordant Mnemoscapes 1| Monumental Failures 2| Rubbing the Past into the Present
Description
Sponsorship
Youtube