Mekong Museum Pieces

File type
application/pdf
Date
2016-11-04
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
Publisher
โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน้ำโขง
Citation
Rights
Licensed rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Other title(s)
Editor(s)
Other contributor(s)
Abstract
หนังสือเล่มนี้อยู่ภายใต้โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มแม่น้ำโขง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง Mekong Basin Civilization Museum Mae Fah Luang University เสนอแนวทางการจัดเก็บวัตถุทางวัฒนธรรมที่จะให้วัตถุนั้นอธิบายอัตลักษณ์เชิงชาติพันธุ์ ในมิติทางสังคมศาสตร์ และทาง Cultural Studies เป็นหลัก โดยมีแนวทางที่กำหนดไว้สำหรับวัตถุชิ้นเอกดังนี้ 1) สร้างตัวตนของกลุ่มชาติพันธุ์ 2) ความสัมพันธ์กับโครงสร้างทางสังคม 3) ความหมายที่แสดงถึงการสร้างอัตลักษณ์ทางสังคม โดยวัตถุทางวัฒนธรรมเหล่านี้ เช่น เครื่องเขิน จากตำบลหายยา จังหวัดเชียงใหม่ ช้อนรองเท้างาช้าง จากสหภาพเมียนมาร์ เครื่องเงินและโลหะผสมของเงิน กล้องยาสูบ จะช่วยสร้างจุดเด่นให้กับพิพิธภัณฑ์ในเชิงความหมายและคุณค่า ทำให้สามารถศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ จากวัตถุในอดีตจากการเก็บในพิพิธภัณฑ์ ซึ่งผู้อ่านสามารถแสวงหาความรู้และศึกษาเรื่องราวที่สนใจจากพิพิธภัณฑ์ในแต่ละสถานที่
Table of contents
บท 1 : บทบาทเชิงคุณค่าของวัตถุทางวัฒนธรรม
บท 2 : วัตถุวัฒนธรรมการเพาะปลูกบนพื้นที่สูง
บท 3 : วัตถุในวัฒนธรรมกลุ่มการสักร่างกาย
บท 4 : วัตถุวัฒนธรรมการหาปลาในลุ่มน้ำโขง
Description
Sponsorship
โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน้ำโขง
Youtube