Repository logo
  • English
  • ไทย
  • Log In
    Have you forgotten your password?
Repository logo
  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • Quick Guide
    How to Search & Browse
  • English
  • ไทย
  • Log In
    Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "นิธิ เอียวศรีวงศ์"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z

  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ล
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ
Now showing 1 - 3 of 3
Results Per Page
Sort Options
  • Item
    แนะนำหนังสือ : ปากไก่และใบเรือ (PL4201.81 น665 2555 ฉ.2)
    ( 2024-07-10) นิธิ เอียวศรีวงศ์
    รวบรวมความเรียงวรรณกรรม และประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์ ที่ทำให้เราได้เห็นภาพของวิถีชีวิต เศรษฐกิจการค้า ที่แฝงตัวอยู่ในงานวรรณกรรม และบอกเล่าพัฒนาการในด้านวิถีชีวิตที่เกิดขึ้นกับผู้คนในยุคนั้น อีกทั้งยังแสดงให้เห็นถึงการปรับตัวของชนชั้นนำแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในการใช้วรรณกรรมเพื่อเข้าถึงชาวบ้านทั่วไปมากยิ่งขึ้น “ในต้นรัตนโกสินทร์ยังมีความพยายามจะหานิยายจากแหล่งอื่นๆ เพื่อความแปลกใหม่ด้วย ทั้งความพยายามนี้ซึ่งเคยปรากฎให้เห็นในราชสำนักของปลายอยุธยาในกรณีของการรับเรื่องอิเหนาแล้ว ยังขยายมาสู่ชนชั้นสูงทั่วไป ไม่ได้จำกัดอยู่แต่พียงราชสำนักเท่านั้น” เราจะเห็นได้ว่านักเขียนที่มือชื่อในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ต่างล้วนเป็นข้าราชสำนักชั้นสูง ไม่ว่าจะเป็น เจ้าพระยาพระคลัง(หน) หรือกวีราชสำนักอย่างสุนทรภู่ ต่างก็มีผลงานที่สามารถเข้าถึงบุคคลทั่วไปในยุคสมัยนั้น และงานเขียนของอาจารย์นิธิ นี้เองที่ทำให้เราได้เห็นการเปิดรับวัฒนธรรมชางบ้านเข้าสู่วรรณกรรมราชสำนัก
  • Item
    แนะนำหนังสือ:กรุงแตก พระเจ้าตากฯและประวัติศาสตร์ไทย ว่าด้วยประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์นิพนธ์[เลขเรียกหนังสือ DS 579.8 น 65 2550]
    ( 2022-04-07) นิธิ เอียวศรีวงศ์
    เล่มนี้เป็นงานรวมเรื่องของอ.นิธิ เอียวศรีวงศ์ ที่ตีพิมพ์ในนิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม มีอยู่ด้วยกัน 8 หัวข้อ หัวข้อที่ นายกบแดง ขอยกมาเล่านี้ อยู่ในหัวข้อตอนที่ชื่อว่า “กรุงแตก : ราชอาณาจักรอยุธยาสลายตัว 7 เมษายน 2310 เป็นวันที่กรุงศรีอยุธยาแตก แต่การพังสลายของราชอาณาจักรอยุธยาได้เกิดขึ้นก่อนที่พระนครศรีอยุธยาจะเสียแก่พม่าแล้ว กองทัพพม่าได้ควบคุมไพร่และหัวเมือง ความปั่นป่วนโกลาหลกระทบต่อราษฎรที่เริ่มอดอยาก เพราะเสบียงอาหารร่อยหรอลง มีคนอดโซเป็นอันมาก มีการจี้ปล้นสะดมมิได้ขาด ราษฎรพากันหนีออกไปหาพม่าเพื่อได้อาหารมาประทังชีวิตจนต้องเข้าไปหากองทัพพม่า วันที่ 7 เมษายน 2310 กำแพงพระนครศรีอยุธยาก็ถูกทำลายลง พม่ายกเข้าเมือง บุคคลในรัฐบาลสมัยนั้นพากันหลบหนี บ้างถูกจับกุม กวาดต้อน สภาพบ้านแตกสาแหรกขาดเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด ความพินาศของกรุงศรีอยุธยาเป็นเครื่องหมายที่ชัดเจนของการสลายตัวของราชอาณาจักรอยุธยา อันเป็นกระบวนการที่ได้กินเวลานานมาหลายทศวรรษ ก่อนการเสียกรุง แต่หลักฐานส่วนใหญ่มุ่งจะกล่าวถึงสภาพการจลาจลภายหลังเสียกรุงมากกว่าที่จะมองว่าเป็นความเสื่อมโทรมในระบบ อ่านมาถึงตรงนี้ก็เริ่มสนุกแล้วครับว่าการอ่านประวัติศาสตร์นิพนธ์ในความหมายของอ.นิธิ คือ การศึกษาถึงการเขียนประวัติศาสตร์ และรวมถึงการสร้างประวัติศาสตร์ขึ้นมา การใช้หลักฐานและการตีความเพื่อเข้าถึงความจริงของสังคม
  • Item
    สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)
    ( 2005-01-01) นิธิ เอียวศรีวงศ์ ; สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement